=
ข่าวสาร
หน้าแรก|ข่าวสาร|บล็อก|Air Receiver Sizing / การคำนวณหาขนาดถังเก็บลม

Air Receiver Sizing / การคำนวณหาขนาดถังเก็บลม

ถังลมแนวตั้งเอฟเอส-เคอร์ติส

When specifying a compressed air system for optimum operation and energy efficiency, proper selection of the compressed air receiver tank(s) is one of the most critical decisions one can make. There are several different “rules of thumb” and formulas that will assist you, but finding straightforward guidance that says “use this size air receiver” is difficult if not non-existent.

เมื่อจะคำนวณเกี่ยวกับระบบอากาศอัดเพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างน่าพึงพอใจที่สุดและมีประสิทธิภาพทางพลังงานสูงสุด การเลือกขนาดถังเก็บลมที่เหมาะสมเป็นการตัดสินใจที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่ง มีวิธีการคิดแบบคร่าวๆ หรือสูตรในการคำนวณอยู่หลายแบบด้วยกัน แต่การหาแนวทางที่บอกว่า “ใช้ถังเก็บลมขนาดนี้” ชัดๆ ตรงๆ นั้นยากมาก หากว่ามีอยู่จริง

Air receivers can be used in several different ways in a compressed air system:

ในระบบอากาศอัดสามารถนำถังเก็บลมมาใช้ประโยชน์ได้หลายๆ ทาง ไม่ว่าจะเป็นในฐานะ

A properly sized air receiver acts as a “buffer” and minimizes the effect of dynamic demand side pressure changes, allowing the compressor controls to operate smoothly and consistently. The end result is less energy used, longer component life, and consistency in plant air pressure.

ถังเก็บลมในขนาดที่เหมาะสมจะทำหน้าที่เป็น “บัฟเฟอร์หรือตัวกันชน” และลดผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของแรงดันด้านอุปสงค์ ซึ่งจะทำให้ส่วนควบคุมของปั๊มลมทำงานได้อย่างราบรื่นและคงที่ ผลลัพธ์ท้ายสุดก็คือพลังงานถูกใช้น้อยลง อะไหล่และชิ้นส่วนที่ใช้งานได้ยาวนานขึ้น และความสม่ำเสมอคงที่ของแรงดันอากาศในโรงงาน

 

Sizing a PRIMARY receiver for general FIXED SPEED APPLICATIONS:

 การหาขนาดถังเก็บ ปฐมภูมิ” สำหรับการใช้แบบ “ความเร็วคงที่”

Example: A 100 CFM fixed speed air compressor should have an air receiver between 100-200 gallons sitting next to it. Err on the high side if your budget permits.

ตัวอย่างเช่น เครื่องอัดอากาศความเร็วคงที่ขนาด 100 CFM ควรจะมีถังเก็บลมขนาด 100 – 200 แกลลอนเป็นอย่างมากวางอยู่ใกล้ๆ เครื่องอัดอากาศนั้น ถ้างบประมาณของคุณถึง

 

Sizing a PRIMARY receiver for general VARIABLE SPEED APPLICATIONS:

การหาขนาดถังเก็บ ปฐมภูมิ สำหรับการใช้แบบความเร็วแปรผัน

Example: a 100 CFM variable speed air compressor should have an air receiver between 200-400 gallons sitting next to it. Err on the high side if your budget permits.

ตัวอย่างเช่น เครื่องอัดอากาศความเร็วแปรผันขนาด 100 CFM ควรจะมีถังเก็บลมขนาด 200 – 400 แกลลอนเป็นอย่างมากวางอยู่ใกล้ๆ เครื่องอัดอากาศนั้น ถ้างบประมาณของคุณถึง

 

Useful Air Receiver Sizing Formulas (Primary and Secondary):

สูตรการหาขนาดถังเก็บลมที่น่าจะเป็นประโยชน์ (ปฐมภูมิและทุติยภูมิ)

Use this formula when you have an existing air receiver

and need to know how long you can draw CFM greater than the output of the air compressor, from the receiver, while still maintaining system pressure:

ใช้สูตรนี้ได้เมื่อคุณมีถังเก็บลมอยู่แล้ว

และคุณจำเป็นต้องรู้ว่านานเพียงใดที่คุณจะสามารถดึง CFM จากถังเก็บ ได้มากกว่าปริมาณอากาศที่ได้จากเครื่องอัดอากาศ ในขณะที่ยังสามารถคงรักษาแรงดันของระบบไว้ได้

 

Use this formula to determine what receiver size to use to supply pressure for a given period of time, not allowing the system to drop below a minimum pressure. The demand of air is greater than the CFM output of the air compressor:

ใช้สูตรนี้เพื่อเลือกขนาดถังเก็บที่จะใช้ โดยจะให้มีแรงดันในระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งไม่ให้ระบบต้องตกลงกว่าแรงดันขั้นต่ำ อุปสงค์อากาศมากกว่าปริมาณ CFM ของลมที่ผลิตได้จากเครื่องอัดอากาศ

P1 – P2

 

Use this formula to determine how long it will take to recharge an air receiver to P1, after demand goes back to being below CFM output of the air compressor:

ใช้สูตรนี้เพื่อหาว่าจะใช้เวลานานเท่าใดที่จะรีชาร์จถังเก็บลมจนถึงค่า P1 (แรงดันถังเก็บลมสูงสุด) หลังจากอุปสงค์กลับไปต่ำกว่าผลผลิต CFM หรือลูกบาศก์ฟุตต่อนาทีของเครื่องอัดอากาศ

Qr – Qc x 14.7

 

T = Time in minutes

R = Receiver in cubic feet Qr = CFM removed

Qc = Compressor output in CFM

P1 = Maximum air receiver pressure P2 = Minimum air receiver pressure

14.7 = Atmospheric pressure in PSI (sea level)

CUBIC FT to GALLON CONVERSION: 7.48 gallons in a cubic foot

 

T = เวลา หน่วยเป็นนาที

R = ถังเก็บ ลูกบากศ์ฟุต QR = CFM ที่ถูกขจัดออก

Qc = output หรือปริมาณลมที่ผลิตได้ของเครื่องอัดอากาศ หน่วยเป็นซีเอฟเอ็ม หรือลูกบาศก์ฟุตต่อนาที

P1 = แรงดันถังเก็บลมสูงสุด P2 = แรงดันถังเก็บลมต่ำสุด

14.7 = ความดันบรรยากาศ (ระดับน้ำทะเล) หน่วยเป็นปอนด์ต่อตารางนิ้ว

การเปลี่ยนจากหน่วยลูกบาศก์ฟุตเป็นแกลลอน: 7.48 แกลลอน เท่ากับหนึ่งลูกบาศก์ฟุต

Follow us for more updates! Facebook Twitter YouTube

Location

140/1-2 หมู่12 ซอย9/1 ถนนกิ่งแก้ว ตำบลราชาเทวะ
อำเภอบางพลี สมุทรปราการ 10540